เปลี่ยนการแสดงผล th A-AA+

ข้อมูลสถานศึกษา




วิทยาลัยเทคนิคสระแก้ว


สถานที่ตั้ง  เลขที่ 200 หมู่ 11  ตำบลวัฒนานคร  อำเภอวัฒนานคร  จังหวัดสระแก้ว  27160
โทรศัพท์ 037-261-535  โทรสาร 037-261-675
Website : http://www.sktc.ac.th      E-mail : sakaeo.ar@gmail.com


สัญลักษณ์


สีประจำวิทยาลัย
สีเขียว - เหลือง


ปรัชญา
พัฒนาคน พัฒนางาน  วิชาการเป็นเลิศ  ประเสริฐคุณธรรม  น้อมนำ  รู้รัก  สามัคคี

ปณิธาน
น้อมนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเป็นหลักในการพัฒนาสถานศึกษา

วิสัยทัศน์
ผลิตและพัฒนากำลังคนให้มีสมรรถนะวิชาชีพ สนองความต้องการกำลังคนในภูมิภาคอาเซียน

พันธกิจของวิทยาลัยเทคนิคสระแก้ว
1. ผลิตและพัฒนากำลังคน ด้านวิชาชีพในทุกระดับให้มีคุณภาพได้มาตรฐาน
2. ขยายโอกาสทางการศึกษาสายอาชีพอย่างทั่วถึงและต่อเนื่อง
3. ส่งเสริม/พัฒนา นักเรียน นักศึกษา รองรับสถานประกอบการเพื่อแก้ปัญหาขาดแคลนบุคลากร ภาคการผลิตในปัจจุบัน
4. สร้างเครือข่ายความรวมมือในทุกภาคส่วนที่มีส่วนร่วมในการพัฒนาการจัดการอาชีวศึกษาและฝึกอบรมวิชาชีพ
5. วิจัย สร้างนวัตกรรม จัดการองค์ความรู้เพื่อพัฒนาอาชีพและคุณภาพชีวิตของประชน
6. ส่งเสริม/พัฒนา ครูและบุคลากรในสถานศึกษาเพื่อความเป็นเลิศมั่นคง และก้าวหน้าในวิชาชีพ
7. ทำนุบำรุง ส่งเสริมศิลปวัฒนธรรม แหล่งเรียนรู้และภูมิปัญญาท้องถิ่น

เอกลักษณ์
สถานศึกษาระดับชุมชนท้องถิ่นมุ่งผลิตและพัฒนากำลังด้านวิชาชีพและบริการสังคม

อัตลักษณ์
สำนึกดี  มีจิตอาสา  และทักษะวิชาชีพ

    ประวัติความเป็นมา
        
ประกาศจัดตั้งเมื่อวันที่ 21 เดือน มิถุนายน  พ.ศ. 2538 
        - วิทยาลัยเทคนิคสระแก้วมีสถานที่ทำการชั่วคราวอยู่ที่วิทยาลัยเทคนิคปราจีนบุรี
พ.ศ. 2539
        - ย้ายสถานที่ทำการชั่วคราวมาอยู่ที่โรงเรียนวัฒนานคร  ต.วัฒนานคร  อ. วัฒนานคร  จ.สระแก้ว  และเริ่มเปิดการเรียนการสอน  ปีการศึกษา 2539
ได้ทำการเปิดสอนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.)  รับผู้สำเร็จการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนต้น (ม.3)  หรือเทียบเท่า เข้าศึกษาต่อดังนี้
                1. ประเภทวิชาอุตสาหกรรม  ได้แก่
                        1.1 สาขาวิชาอิเล็กทรอนิกส์
                        1.2 สาขาวิชาช่างก่อสร้าง
                2. ประเภทวิชาพาณิชยกรรม  ได้แก่
                        2.1 สาขาวิชาพาณิชการ (การบัญชี)
พ.ศ. 2540
        - ย้ายสถานที่ทำการมาอยู่พื้นที่ปัจจุบัน เปิดสอนประเภทวิชาศิลปกรรมเพิ่มอีก 1 สาขาวิชา รวมเป็น  3  ประเภท  8  สาขาวิชา ดังนี้
                1. ประเภทวิชาอุตสาหกรรม  ได้แก่
                        1.1 สาขาวิชาช่างยนต์
                        1.2 สาขาช่างเชื่อมโลหะ   
                        1.3 สาขาวิชาช่างไฟฟ้า
                        1.4 สาขาวิชาช่างอเล็กทรอนิกส์
                        1.5 สาขาวิชาช่างก่อสร้าง
                2. ประเภทวิชาพาณิชยการ ได้แก่
                        2.1 สาขาวิชาพาณิชยการ (การขาย)
                        2.2 สาขาวิชาพาณิชยการ (การบัญชี) 
                3. ประเภทวิชาศิลปกรรม ได้แก่
                        3.1 สาขาวิจิตรศิลป์                           
พ.ศ. 2541 - 2543
        - เปิดสอนประเภทสาขาวิชาคหกรรม เพิ่มอีก 1 วิชา รวมเป็น 4 ประเภท 9 สาขาวิชา ดังนี้

                1. ประเภทวิชาอุตสาหกรรม  ได้แก่
                        1.1 สาขาวิชาช่างยนต์
                        1.2 สาขาช่างเชื่อมโลหะ   
                        1.3 สาขาวิชาช่างไฟฟ้า
                        1.4 สาขาวิชาช่างอเล็กทรอนิกส์
                        1.5 สาขาวิชาช่างก่อสร้าง
                2. ประเภทวิชาพาณิชยการ ได้แก่
                        2.1 สาขาวิชาพาณิชยการ (การขาย)
                        2.2 สาขาวิชาพาณิชยการ (การบัญชี) 
                3. ประเภทวิชาศิลปกรรม ได้แก่
                        3.1 สาขาวิจิตรศิลป์     
                4. ประเภทสาขาวิชาคหกรรม ได้แก่
                        4.1 สาขาวิชาคหกรรมธุรกิจ
พ.ศ. 2544 - 2546
        - เปิดสอนในระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ  (ปวช.)  รวมเป็น  4  ประเภท  10 สาขาวิชา (เพิ่ม 1 สาขาวิชา) คือ สาขาคอมพิวเตอร์  ดังนี้

                   1. ประเภทวิชาอุตสาหกรรม  ได้แก่
                        1.1 สาขาวิชาช่างยนต์
                        1.2 สาขาช่างเชื่อมโลหะ   
                        1.3 สาขาวิชาช่างไฟฟ้า
                        1.4 สาขาวิชาช่างอเล็กทรอนิกส์
                        1.5 สาขาวิชาช่างก่อสร้าง
                2. ประเภทวิชาพาณิชยการ ได้แก่
                        2.1 สาขาวิชาพาณิชยการ (การขาย)
                        2.2 สาขาวิชาพาณิชยการ (การบัญชี) 
                3. ประเภทวิชาศิลปกรรม ได้แก่
                        3.1 สาขาวิจิตรศิลป์     
                4. ประเภทสาขาวิชาคหกรรม ได้แก่
                        4.1 สาขาวิชาคหกรรมธุรกิจ
พ.ศ. 2547
        - เปิดสอนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.)  โดยจัดการเรียนการสอนเป็น  4  ประเภทวิชา  ดังนี้
              1. ประเภทวิชาอุตสาหกรรม
                      1.1 สาขาวิชาเครื่องกล             สาขางานยานยนต์
                      1.2 สาขาวิชาโลหะการ             สาขางานเชื่อมโลหะ
                      1.3 สาขาวิชาช่างไฟฟ้ากำลังและอิเล็กทรอนิกส์     สาขางานไฟฟ้ากำลังและสาขางานอิเล็กทรอนิกส์
                      1.4 สาขาวิชาช่างก่อสร้าง          สาขางานก่อสร้าง  
            2.  ประเภทวิชาพาณิชยกรรม
                      2.1 สาขาวิชาพณิชยการ            สาขางานการบัญชี
                      2.2 สาขาวิชาพณิชยการ             สาขางานการขาย 
                      2.3 สาขาวิชาพณิชยการ            สาขางานคอมพิวเตอร์ธุรกิจ  
            3. ประเภทวิชาคหกรรม 
                      3.1 สาขาวิชาคหกรรมศาสตร์      สาขางานธุรกิจคหกรรม  
            4. ประเภทวิชาศิลปกรรม
                      4.1 สาขาวิชาศิลปกรรม             สาขางานวิจิตรศิลป์
พ.ศ. 2543 – 2544
       - เริ่มเปิดสอนในระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) เพิ่มระบบทวิภาคี ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง  (ปวส.)  รวมเป็น  3  ประเภท  8 สาขาวิชาโดยรับผู้ที่สำเร็จการศึกษา  ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ  (ปวช.)  และระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย(ม.6)  เข้าศึกษาต่อ
             1.ประเภทวิชาอุตสาหกรรม     ได้แก่ 
                      1.1.สาขางานเทคนิคยานยนต์  (ทวิภาคี)  
                      1.2.สาขางานวิชาช่างเทคนิคโลหะ (ทวิภาคี) 
                      1.3.สาขางานติดตั้งไฟฟ้า (ทวิภาคี)  
                      1.4.สาขางานอิเล็กทรอนิกส์ทั่วไป  (ทวิภาคี)  
                      1.5.สาขางานก่อสร้าง  (ทวิภาคี)  
              2.ประเภทวิชาพาณิชยกรรม  ได้แก่ 
                      2.1.สาขาวิชาการบัญชี  (ทวิภาคี)  
                      2.2.สาขาวิชาการตลาด  (ทวิภาคี)  
              3.ประเภทวิชาคหกรรม  ได้แก่
                      3.1สาขาวิชาการโรงแรม  (ทวิภาคี)
พ.ศ. 2545
        - เปิดสอนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.)  รวมเป็น 3 ประเภทวิชา  9 สาขาวิชา 9 สาขางาน
              1.ประเภทวิชาอุตสาหกรรม    ได้แก่  
                      1.1 สาขาวิชาเครื่องกล      สาขางานเทคนิคยานยนต์         สาขางานเทคนิคเครื่องกล
                      1.2 สาขาวิชาเทคนิคโลหะ  สาขางานเทคนิคการเชื่อมโลหะ
                      1.3 สาขาวิชาไฟฟ้ากำลัง     สาขางานติดตั้งไฟฟ้า  
                      1.4 สาขาวิชาอิเล็กทรอนิกส์ สาขางานเทคนิคคอมพิวเตอร์
                      1.5 สาขาวิชาการก่อสร้าง   สาขางานเทคนิคการก่อสร้าง 
              2.ประเภทวิชาพาณิชยกรรม  ได้แก่
                      2.1 สาขาวิชาพณิชยการ      สาขาวิชาการบัญชี               สาขางานการบัญชี  
                      2.2 สาขาวิชาพณิชยการ     สาขาวิชาการตลาด               สาขางานการตลาด 
                      2.3 สาขาวิชาพณิชยการ     สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ      สาขางานเทคโนโลยีสำนักงาน
              3.ประเภทวิชาคหกรรมธุรกิจ ได้แก่
                      3.1 สาขาวิชาคหกรรมธุรกิจ  สาขางานการโรงแรม

พ.ศ. 2546 - 2552
          - เปิดสอนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) รวมเป็น 4 ประเภทวิชา 10 สาขาวิชา 10 สาขางาน
              1.ประเภทวิชาอุตสาหกรรม    ได้แก่  
                      1.1 สาขาวิชาเครื่องกล      สาขางานเทคนิคยานยนต์         สาขางานเทคนิคเครื่องกล
                      1.2 สาขาวิชาเทคนิคโลหะ  สาขางานเทคนิคการเชื่อมโลหะ
                      1.3 สาขาวิชาไฟฟ้ากำลัง     สาขางานติดตั้งไฟฟ้า   
                      1.4 สาขาวิชาอิเล็กทรอนิกส์ สาขางานเทคนิคคอมพิวเตอร์
                      1.5 สาขาวิชาการก่อสร้าง   สาขางานเทคนิคการก่อสร้าง  
              2.ประเภทวิชาพาณิชยกรรม  ได้แก่
                      2.1 สาขาวิชาพณิชยการ      สาขาวิชาการบัญชี               สาขางานการบัญชี  
                      2.2 สาขาวิชาพณิชยการ     สาขาวิชาการตลาด               สาขางานการตลาด 
                      2.3 สาขาวิชาพณิชยการ     สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ      สาขางานเทคโนโลยีสำนักงาน
              3.ประเภทวิชาอุตสาหกรรมการท่องเที่ยว ได้แก่
                      3.1 สาขาวิชาการโรงแรมและบริการ   สาขางานการโรงแรม
              4.ประเภทวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
                      4.1 สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
พ.ศ. 2553 - 2556
        - เปิดสอนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) รวมเป็น 4 ประเภทวิชา 10 สาขาวิชา 11 สาขางาน
               1.ประเภทวิชาอุตสาหกรรม    ได้แก่  
                      1.1 สาขาวิชาเครื่องกล      สาขางานเทคนิคยานยนต์         สาขางานเทคนิคเครื่องกล
                      1.2 สาขาวิชาเทคนิคโลหะ  สาขางานเทคนิคการเชื่อมโลหะ
                      1.3 สาขาวิชาไฟฟ้ากำลัง     สาขางานติดตั้งไฟฟ้า   
                      1.4 สาขาวิชาอิเล็กทรอนิกส์ สาขางานเทคนิคคอมพิวเตอร์
                                                           สาขางานอิเล็กทรอนิกส์อุตสาหกรรม
                      1.5 สาขาวิชาการก่อสร้าง   สาขางานเทคนิคการก่อสร้าง  
              2.ประเภทวิชาพาณิชยกรรม  ได้แก่
                      2.1 สาขาวิชาพณิชยการ      สาขาวิชาการบัญชี               สาขางานการบัญชี  
                      2.2 สาขาวิชาพณิชยการ     สาขาวิชาการตลาด               สาขางานการตลาด 
                      2.3 สาขาวิชาพณิชยการ     สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ      สาขางานเทคโนโลยีสำนักงาน
              3.ประเภทวิชาอุตสาหกรรมการท่องเที่ยว ได้แก่
                      3.1 สาขาวิชาการโรงแรมและบริการ   สาขางานการโรงแรม
              4.ประเภทวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
                      4.1 สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร

พ.ศ.2557 – ปัจจุบัน
        - เปิดสอนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง(ปวส.)รวมเป็น 2 ประเภทวิชา 9 สาขาวิชา 9 สาขางาน(ภาคปกติ)
              1.ประเภทวิชาอุตสาหกรรม ได้แก่
                      1.1 สาขาวิชาเทคนิคเครื่องกล สาขางานเทคนิคยานยนต์
                      1.2 สาขาวิชาเทคนิคโลหะ สาขางานเทคนิคการเชื่อมโลหะ
                      1.3 สาขาวิชาไฟฟ้า สาขางานไฟฟ้ากำลัง
                      1.4 สาขาวิชาอิเล็กทรอนิกส์ สาขางานอิเล็กทรอนิกส์อุตสาหกรรม
                      1.5 สาขาวิชาช่างก่อสร้าง สาขางานก่อสร้าง
              2.ประเภทวิชาบริหารธุรกิจ
                      2.1 สาขาวิชาการบัญชี  สาขางานการบัญชี
                      2.2 สาขาวิชาการตลาด สาขางานการตลาด
                      2.3 สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ สาขางานคอมพิวเตอร์ธุรกิจ
                      2.4 สาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์ สาขางานการจัดการคลังสินค้า
เปิดสอนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง(ปวส.)รวมเป็น 2 ประเภทวิชา 9 สาขาวิชา 9 สาขางาน (ภาคทวิภาคี)
              1.ประเภทวิชาอุตสาหกรรม ได้แก่
                      1.1 สาขาวิชาเทคนิคเครื่องกล สาขางานเทคนิคยานยนต์ สาขาเทคนิคเครื่องกลอุตสาหกรรม
                      1.2 สาขาวิชาไฟฟ้า สาขางานไฟฟ้ากำลัง
                      1.3 สาขาวิชาอิเล็กทรอนิกส์ สาขางานอิเล็กทรอนิกส์อุตสาหกรรม
                      1.4 สาขาวิชาช่างก่อสร้าง สาขางานก่อสร้าง

                วิทยาลัยเทคนิคสระแก้วตั้งอยู่เลขที่ 200 หมู่ 11 ตำบลวัฒนานคร อำเภอวัฒนานคร   จังหวัดสระแก้ว  ได้รับอนุญาตให้ใช้ที่ดินสาธารณะประโยชน์  จำนวน 109 ไร่ 1 งาน 74 ตารางวา  ดังนี้
                   ทิศเหนือ          จด       โรงพยาบาลวัฒนานคร
                   ทิศใต้              จด       สถานีตำรวจภูธรอำเภอวัฒนานคร
                   ทิศตะวันออก     จด       ที่ดินเอกชน                                  
                   ทิศตะวันตก       จด      ถนนวัฒนา – แซร์ออ


 
^